อีลอน รีฟ มัสก์ (Elon Reeve Musk) คือนักธุรกิจ และนักลงทุนชาวอเมริกัน – แอฟริกาใต้ ที่เคยเป็นวิศวกรและนักประดิษฐ์มาก่อน เขาเป็นผู้ก่อตั้ง และผู้บริหารของบริษัทสเปซเอ็กซ์ และเป็นผู้ร่วมก่อตั้ง ผู้บริหาร และสถาปนิกผลิตภัณฑ์ของบริษัท เทสลามอเตอร์ส และเป็นผู้ร่วมก่อตั้งและประธานบริษัทของเพย์แพลมาก่อน และยังมีบริษัทอื่น ๆ ที่เขาดำรงตำแหน่งเป็นผู้บริหารอีกมากมาย นอกจากนี้ยังเป็นผู้จุดประกายแนวคิดเรื่องระบบขนส่งความเร็วสูง หรือที่เรียกว่าไฮเปอร์ลูป และเครื่องบินใบพัดขับเคลื่อนพลังงานไฟฟ้าเหนือเสียงแบบที่สามารถขึ้นลงทางดิ่งได้ โดยในวันที่ 7 มกราคม 2021 อีลอน มัสก์ได้รับการจัดอันดับให้เป็นบุคคลที่รวยที่สุดในโลก ด้วยมูลค่าทรัพย์สินทั้งสิ้น 185 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยสามารถแซงหน้าแชมป์เก่าอย่างเจฟฟ์ เบโซส ผู้ก่อตั้งบริษัทค้าปลีกออนไลน์แอมะซอนได้สำเร็จ
ที่มาของรูปภาพ www.pixabay.com/th/illustrations/elon-musk-ช่องว่าง-elon-spacex-6222396/
จักรวาลธุรกิจของ อีลอน มัสก์
ในปัจจุบันหากกล่าวถึงนักธุรกิจระดับโลกที่มีบทบาทในภาคอุตสาหกรรมด้านต่าง ๆ มากที่สุด แม้แต่วงการคริปโทเคอร์เรนซีคงหนีไม่พ้น อีลอน มัสก์ ผู้ก้าวขึ้นเป็นมหาเศรษฐีด้วยวงการเทคโนโลยี โดยในปี 2021 ถือเป็นปีทองของมัสก์อย่างแท้จริง เพราะธุรกิจต่าง ๆ ของเขาเติบโตอย่างก้าวกระโดด และล้วนประสบความสำเร็จอย่างสูง โดยเฉพาะราคาหุ้นของ Tesla บริษัทผลิตรถยนต์ไฟฟ้ารายใหญ่ที่มูลค่าเพิ่มสูงกว่า 1 ล้านล้านดอลลาร์ ส่งผลให้กลายเป็นผู้ผลิตรถรายใหม่ที่มีมูลค่าตลาดสูงที่สุดในโลก ซึ่งส่งผลให้ความมั่งคั่งของมัสก์สูงจนทะลุ 2.8 แสนล้านดอลลาร์และกลายเป็นบุคคลที่ร่ำรวยที่สุดในโลกได้สำเร็จ
ธุรกิจที่อีลอน มัสก์ มีส่วนร่วมในการก่อตั้ง และบริหารงานมาก่อนทั้งในอดีตและปัจจุบันนั้นมีหลากหลายมาก ครอบคลุมตั้งแต่สตาร์ทอัพด้านอินเทอร์เน็ตไปจนถึงด้านพลังงานหมุนเวียน และปัญญาประดิษฐ์ (AI) ดังนี้
- TESLA ซึ่งเป็นประเภทธุรกิจด้านยานยนต์พลังงานไฟฟ้า (EV) มีมูลค่าในตลาด 1.02 ล้านล้านดอลลาร์
- SPACEX ซึ่งเป็นประเภทธุรกิจด้านอวกาศพาณิชย์ บริษัทแรกของโลก มีมูลค่าในตลาด 1 แสนล้านดอลลาร์
- SOLARCITY ซึ่งเป็นประเภทธุรกิจด้านพลังงานหมุนเวียน ซึ่งเข้ากับกระแสความสนใจด้านสิ่งแวดล้อมในปัจจุบัน มีมูลค่าในตลาดจากการที่ถูก TESLA เข้าซื้อกิจการที่ 2.6 พันล้านดอลลาร์
- PAYPAL ซึ่งเป็นประเภทธุรกิจดูแลการชำระเงินออนไลน์ ซึ่งมีมูลค่าในตลาดในขณะที่เขาขายกิจการให้กับ EBAY อยู่ที่ 1.5 พันล้านดอลลาร์
- THE BORING CO. ซึ่งเป็นประเภทธุรกิจด้านการก่อสร้างอุโมงค์ ซึ่งมีมูลค่าในตลาด 920 ล้านดอลลาร์
- NEURALINK ซึ่งเป็นประเภทธุรกิจด้านประสาทเทคโนโลยี ซึ่งมีมูลค่าในตลาด มากกว่า 500 ล้านดอลลาร์
- ZIP2 ซึ่งเป็นประเภทธุรกิจไดเร็กทอรีของธุรกิจออนไลน์ ซึ่งมีมูลค่าในตลาดขณะที่อีลอน มัสก์ ขายกิจการให้ HP ที่ 307 ล้านดอลลาร์
- OPEN AI ซึ่งเป็นประเภทธุรกิจการวิจัยปัญญาประดิษฐ์ (AI) ซึ่งยังไม่พบข้อมูลมูลค่าในตลาด
อย่างไรก็ตามยังต้องจับตาดูกันต่อไปว่า ในปี 2022 อีลอน มัสก์จะยังสามารถขับเคลื่อนธุรกิจของเขาให้เติบโตอย่างต่อเนื่องได้หรือไม่ โดยเฉพาะธุรกิจที่กำลังมาแรงอย่างรถยนต์ EV ของ Tesla และอวกาศการบินพาณิชย์ของ SpaceX ซึ่งส่วนหนึ่งที่ทำให้เขาประสบความสำเร็จก็คือวิสัยทัศน์ในการทำงาน เขาไม่ได้สนใจแต่ประโยชน์ในธุรกิจของตนเองเท่านั้น แต่ยังต้องการสร้างมูลค่าในธุรกิจที่เกี่ยวข้องแบบองค์รวม และต้องการสร้างการเปลี่ยนแปลงโลกในทางที่ดีขึ้นไปด้วย ตัวอย่างเรื่องที่น่ายกย่องของเขาคือการประกาศอนุญาตให้ทุกคนนำองค์ความรู้ ตลอดจนทรัพย์สินทางปัญญาของเทสลาที่ได้จดสิทธิบัตรเอาไว้แล้วไปใช้ได้ฟรี เพราะ อีลอน มัสก์มองว่าการแบ่งปันความรู้แก่กัน จะส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในระดับมหภาค เป็นการทำลายข้อจำกัดทางความคิด ลดเวลา และเงินทุนมหาศาลในการค้นคว้าวิจัยขึ้นมาใหม่ เพราะเมื่อมีองค์ความรู้และนวัตกรรมอยู่แล้ว ย่อมสามารถนำไปต่อยอดได้ง่ายมากขึ้น และทำให้รถยนต์พลังงานไฟฟ้าได้รับความนิยมในวงกว้างมากขึ้น รถ EV มีราคาถูกลงจนทุกคนสามารถเข้าถึงได้
ที่มาของรูปภาพ www.pixabay.com/th/illustrations/elon-musk-การวาดภาพ-ภาพเหมือน-7219631/
ปัญหาระหว่างอีลอน มัสก์ กับทวิตเตอร์
เมื่อปีที่ผ่านมา อีลอน มัสก์ได้คิดที่จะทำข้อตกลงซื้อทวิตเตอร์ ด้วยมูลค่ากว่า 4.4 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ แต่ในปัจจุบันความต้องการนี้ของเขาได้ถูกระงับเอาไว้ชั่วคราว หลังจากที่เขาร้องขอให้บริษัทแสดงจำนวนบัญชีปลอม หรือสแปมที่มีอยู่ในแพลตฟอร์มออกมาให้ทราบ โดยกล่าวอ้างว่าลักษณะของบัญชีปลอมเหล่านี้จะส่งผลต่อการใช้งานได้ในอนาคต แต่นักวิเคราะห์คาดการณ์ว่าอาจเป็นความพยายามเจรจาเพื่อกำหนดราคาซื้อขายใหม่ หรืออาจเป็นข้ออ้างยกเลิกสัญญาซื้อกิจการนี้ได้ อย่างไรทวีตของเรื่องความโปร่งใสของทวีตเตอร์ของมัสก์ได้ส่งผลให้ราคาหุ้นของทวิตเตอร์ร่วงลงไปกว่า 10%
ซึ่งส่งผลให้ทวิตเตอร์ต้องเผชิญกับข้อกล่าวหาถึงปัญหาในการดำเนินการ เพื่อจัดการกับเนื้อหาที่โพสต์โดยอัตโนมัติ และโดยบัญชีปลอมเหล่านี้ โดยทวิตเตอร์ประมาณการว่าบัญชีปลอมนั้นมีสัดส่วนที่น้อยกว่า 5% ของผู้ใช้งาน ซึ่งไม่ได้ส่งผลกระทบต่อการใช้งาน แต่บริษัทก็ไม่ได้มีการเปิดเผยหลักฐานเพื่อยืนยันคำกล่าวอ้างนี้ โดยจำนวนสแปมบอทในบริการอาจส่งผลกระทบต่อความสามารถในการเพิ่มรายได้ที่ได้จากการโฆษณา หรือการสมัครเข้าเป็นสมาชิกแบบมีค่าใช้จ่ายได้
นอกจากข้อพิพาทเรื่องการซื้อขายทวิตเตอร์ที่เกิดขึ้นแล้ว ความผันผวนทางเศรษฐกิจที่ส่งผลต่อตลาดหุ้นในสหรัฐฯ ในช่วงหลายสัปดาห์ที่ผ่านมายังส่งผลกระทบต่อมูลค่าของบริษัทต่าง ๆ ด้วย รวมถึงราคาหุ้นของบริษัทเทสลา บริษัทผลิตรถยนต์ไฟฟ้าที่ อีลอน มัสก์ บริหารอยู่ ซึ่งหลังการทวีตว่าข้อตกลงระหว่างทวิตเตอร์ถูกระงับไปชั่วคราว ราคาหุ้นของเทสลาก็เพิ่มขึ้นได้อีกมากกว่า 5% และยังทำให้ผู้บริหารของทวิตเตอร์ 2 คนต้องลาออกจากบริษัท และทำให้บริษัทต้องหยุดการจ้างงานส่วนใหญ่เอาไว้ชั่วคราวอีกด้วย เซ็กซี่ บาคาร่า และคาดการณ์ว่าหากการซื้อขายนี้ยุติลงจริง ๆ ทางทวิตเตอร์คงได้มีการฟ้องร้องมัสก์กลับอย่างแน่นอน
ที่มาของรูปภาพ www.pixabay.com/th/vectors/elon-musk-ทวิตเตอร์-เจ้าของ-7159200/
แทงบอลออนไลน์ ทางเข้า ufabet ภาษาไทย คาสิโนออนไลน์ เซ็กซี่ บาคาร่า บาคาร่า99 บาคาร่าออนไลน์ เว็บบาคาร่าสล็อตpg สล็อตเว็บตรง ไฮโลไทย ufabet168 ufabet เว็บตรง